Azərbaycanca  AzərbaycancaDeutsch  DeutschEnglish  EnglishFrançais  FrançaisРусский  Русскийภาษาไทย  ภาษาไทยTürkçe  TürkçeУкраїнська  Українська
สนับสนุน
www.global-th2.nina.az
  • บ้าน
  • วิกิพีเดีย

เว บย อSIIT สถาบ นเทคโนโลย นานาชาต ส ร นธร เอสไอไอท เป นสถาบ นการศ กษาด านว ศวกรรมศาสตร เทคโนโลย และการจ ดการ ส งก ดมหาว

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • หน้าแรก
  • วิกิพีเดีย
  • สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เว็บย่อ
  • SIIT

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเปิดสอนในด้านวิศวกรรมศาสตร์หลักสูตรนานาชาติเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งหมด 8 สาขาวิชา การเรียนการสอนทั้งหมดเป็นหลักสูตรนานาชาติใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ ผู้จบการศึกษารับปริญญาจากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
Sirindhorn International Institute of Technology
Thammasat University
image
ชื่อย่อSIIT
คติพจน์Your best choice of international education.
สถาปนาพ.ศ. 2535*
นับตั้งแต่ก่อตั้งเป็นโครงการวิศวกรรมศาสตร์ (ภาคภาษาอังกฤษ) ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณบดี
ที่อยู่
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
เว็บไซต์www.siit.tu.ac.th
image
ภาพตึกสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธรภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต

เอสไอไอทีมักเป็นที่รู้จักเรียกขานทั่วไปว่า "วิศวะอินเตอร์ ธรรมศาสตร์" เนื่องจากเดิมเป็นโครงการหนึ่งในคณะวิศวกรรมศาสตร์ก่อนจะตั้งเป็นสถาบัน แต่ขณะนี้คำเรียกนี้อาจทำให้สับสนได้ เนื่องจากในปัจจุบันคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็มีโครงการภาคภาษาอังกฤษอีกโครงการหนึ่ง (รู้จักกันในชื่อ "วิศวะสองสถาบัน") ชาวธรรมศาสตร์นิยมเรียกเอสไอไอทีสั้น ๆ ว่า "เอสไอ"

เอสไอไอทีเปิดสอนทั้งในระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษาโดยเน้นการศึกษาแบบใช้การวิจัยเป็นตัวนำ อาจารย์ประจำทั้งหมดมีวุฒิอย่างน้อยระดับปริญญาเอก ในการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เมื่อปี พ.ศ. 2550 เอสไอไอทีเป็นคณะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพียงแห่งเดียวของประเทศที่ได้รับการจัดระดับสูงสุด "ดีมาก" จากทั้ง 3 ตัวชี้วัด สถาบันฯ เป็น 1 ในสถาบันอุดมศึกษา 4 แห่งของประเทศ ที่ได้รับมอบทุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อสนับสนุนนักเรียนที่สนใจศึกษาต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ในระดับอุดมศึกษา โดยทุนนี้จะมอบให้แก่นักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์ (โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ และ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย) เพื่อศึกษาต่อและทำงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยของสวทช. สถาบันเป็นสมาชิกของเครือข่าย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำในเอเชียและยุโรป ตามกรอบความร่วมมืออาเซม

ระบบการบริหารและการเงินของเอสไอไอทีเป็นอิสระจากระบบส่วนกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่งยังอยู่ในระบบราชการ เพื่อประสิทธิภาพและความคล่องตัว โดยมีคณะกรรมการอำนวยการสถาบันซึ่งคัดเลือกโดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, และ ให้คำปรึกษาด้านนโยบายและการดำเนินงาน และมีคณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิชาการซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการที่มีชื่อเสียงในสาขาต่าง ๆ ให้คำปรึกษาด้านวิชาการและการวิจัย การบริหารสถาบันนำโดยผู้อำนวยการ

ประวัติ

เอสไอไอทีก่อตั้งในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศไทยกำลังเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว พร้อม ๆ กับการลงทุนจากต่างประเทศจำนวนมาก ความต้องการวิศวกรที่สามารถสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศได้เป็นอย่างดีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ศ. เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม อธิการบดีมธ.ในขณะนั้น กับ นายอานันท์ ปันยารชุน นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และท่านผู้หญิงนิรมล สุริยสัตย์ ผู้นำของวงการอุตสาหกรรมในยุคนั้น จึงได้หารือและประสานงานจนได้ก่อตั้ง โครงการวิศวกรรมศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ (Engineering English Program – EEP) ขึ้นในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2535

เนื่องจากติดขัดด้านโครงสร้างซึ่งยังอยู่ในระบบราชการ และงบประมาณที่จำกัด เมื่อโครงการดังกล่าวดำเนินงานไปได้ระยะหนึ่งจึงได้เปลี่ยนสถานะ ก่อตั้งเป็นสถาบันกึ่งอิสระนอกระบบราชการ ไม่พึ่งงบประมาณแผ่นดิน โดยได้รับความร่วมมือจาก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และ (Japan Business Federation ซึ่งมักถูกเรียกตามชื่อย่อในภาษาญี่ปุ่น 経団連 ซึ่งอ่านว่า เคดันเรน ) ใช้ชื่อว่า สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (International Institute of Technology – IIT) เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2537 และต่อมาได้รับพระราชทานชื่อสถาบันจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2539 เป็น สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ตามพระนามของ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

วิทยาเขต

ปัจจุบันเอสไอไอทีขยายการศึกษาเป็นสองวิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตธรรมศาสตร์รังสิต และวิทยาเขตบางกะดี ทั้งสองวิทยาเขตอยู่ในพื้นที่กลุ่มวิสาหกิจเทคโนโลยีกรุงเทพตอนบนตามแผนยุทธศาสตร์ของสวทช. ซึ่งในพื้นที่ประกอบไปด้วยสถาบันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สำคัญจำนวนมาก เช่น อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (รวมถึงศูนย์วิจัยแห่งชาติในสังกัดอีก 4 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ), สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.), , (ซอฟต์แวร์พาร์ค), องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.), สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย รวมถึงเขตอุตสาหกรรมไฮเทค และสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง. โดยเอสไอไอทีได้ร่วมมือและแลกเปลี่ยน ทั้งด้านการสอน วิจัย และถ่ายทอดเทคโนโลยี กับหน่วยงานเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอ

ธรรมศาสตร์รังสิต

ตั้งอยู่ใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี ติดกับ อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย, สวทช., และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

บางกะดี

ตั้งอยู่ใน จังหวัดปทุมธานี โดยสาขาวิชาด้านการสื่อสาร, เทคโนโลยีสารสนเทศ, คอมพิวเตอร์, อิเล็กทรอนิกส์, และเมคคาทรอนิกส์ จะอยู่ที่วิทยาเขตนี้เป็นหลัก รวมถึงสาขาเทคโนโลยีการจัดการ การจัดการวิศวกรรม และการจัดการการดำเนินงาน

ภาควิชา

ปัจจุบัน มีทั้งหมด 6 ภาควิชา เปิดสอนสาขาวิชาต่าง ๆ (ในวงเล็บคือสาขาย่อย) ดังนี้

ภาควิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยีเคมีชีวภาพ
  • วิศวกรรมเคมี (วิศวกรรมชีวเคมี, วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)
ภาควิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยีโยธา
  • วิศวกรรมโยธา (วิศวกรรมโยธา, )
ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
  • วิศวกรรมไฟฟ้า
  • วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
  • วิศวกรรมดิจิทัล
ภาควิชาเทคโนโลยีการจัดการ
  • การวิเคราะห์ธุรกิจและโซ่อุปทาน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและระบบการผลิต
  • วิศวกรรมเครื่องกล (วิศวกรรมเครื่องกล, )
  • วิศวกรรมอุตสาหการ (วิศวกรรมอุตสาหการ, วิศวกรรมการผลิต)
ภาควิชาการศึกษาร่วมและบัณฑิตศึกษา

จัดการเรียนการสอนในวิชาพื้นฐานด้าน วิศวกรรม เทคโนโลยี และการจัดการ และรับผิดชอบวิชาภาษาอังกฤษและวิชาพื้นฐานจำนวนหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รหัสขึ้นต้นด้วย TU)

ผู้อำนวยการสถาบันตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

  • พ.ศ. 2568–ปัจจุบัน รศ. ดร. เกรียงศักดิ์ ภานุวัฒน์วนิชย์
  • พ.ศ. 2562–2568
  • พ.ศ. 2555–2562
  • พ.ศ. 2552–2555
  • พ.ศ. 2547–2552 ศ. ดร. สวัสดิ์ ตันตระรัตน์
  • พ.ศ. 2541–2547 ศ. ดร. ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์
  • พ.ศ. 2540–2541 ศ. ดร. สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (รักษาการ)
  • พ.ศ. 2537–2540 ศ. ดร. ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์
  • พ.ศ. 2537 (รักษาการ)
  • พ.ศ. 2535–2537 ดร. นพดล อินนา

บุคคลสำคัญสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร

  • ศ.ดร.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ (อดีตผู้อำนวยการ) ราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน
  • ศ.ดร.สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (อดีตผู้อำนวยการ) ภาคีสมาชิก สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน และผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

บุคคลที่มีชื่อเสียง

  • ดร. (ศิษย์เก่า) อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย(AOT) จำกัด (มหาชน)
  • ผศ.ดร. (ศิษย์เก่า,อดีตอาจารย์) ประธานเจ้าหน้าที่อนาคตศาสตร์และสินทรัพย์ดิจิทัล บริษัท ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ โดย MQDC
  • อดีตผู้ประกาศข่าวบันเทิง ช่อง 3
  • ชนันภรณ์ รสจันทน์ (ศิษย์เก่า) มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2548, ชุดแต่งกายประจำชาติยอดเยี่ยม และเป็นนักบินที่หนึ่งของสายการบินไทยแอร์เอเชียเอ็กซ์
  • วริษฐา จตุรภุช (ศิษย์เก่า) นักร้องจากการประกวดเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8
  • สพล อัศวมั่นคง (ศิษย์เก่า) นักแสดงช่อง 7HD
  • รศ ดร วีริศ อัมระปาล (ศิษย์เก่า) ผู้ว่าการการนิคมแห่งประเทศไทย และ ผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย
  • ดร.ทิศพล นครศรี (ศิษย์เก่า) ประธานกรรมการบริหารบริษัท บางกอกโซล่าร์ พาวเวอร์ (พี่อ๋อง ผู้สะสมลงทุนสินทรัพย์ประเภทรถสปอร์ตทั้งในไทย และ เยอรมนี)
  • ดร.ดำรงค์ฤทธิ์ เนียมหมวด (ศิษย์เก่า) รองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือ GISTDA
  • พรยศ กลั่นกรอง (ศิษย์เก่า) อธิบดีกรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
  • สุรนาม พานิชการ (ศิษย์เก่า) ผู้ก่อตั้งและ CEO Tofusan
  • กัมปนาท ตันพิทักษ์สิทธิ์ (ศิษย์เก่า) กรรมการผู้จัดการ บริษัท โรบอท ซิสเต็ม จำกัด ผู้ประกอบหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
  • พชร ปัญญายงค์ (ศิษย์เก่า) พิธีกรรายการด้านเศรษฐกิจ อดีตผู้บริหารบริษัท โตโยต้า บางกอก จำกัด

งานวิจัย

ปัจจุบัน SIIT มี 3 ศูนย์วิจัยและ 6 กลุ่มวิจัย ดังนี้

  • ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีการก่อสร้างและบำรุงรักษา (CONTEC) ดำเนินการวิจัยและพัฒนาโครงการที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับการแก้ปัญหาและการสร้างนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างและโครงสร้างพื้นฐาน
  • ศูนย์วิจัยการคมนาคม Transportation Research Center (TREC) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2007 เพื่อดำเนินการวิจัยร่วมกันระหว่าง SIIT และองค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้องในขอบเขตเรื่องการคมนาคมและเทคโนโลยีที่สนับสนุนทางด้านการคมนาคม
  • หน่วยวิศวกรรมชีวการแพทย์ (BioMed SIIT) เป็นการผสมผสานของพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ และคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องทางด้านการแพทย์และชีววิทยา มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวข้องกับชีวสารสนเทศและวิศวกรรมชีวการแพทย์ การเพิ่มประสิทธิภาพและการวิเคราะห์เชิงตัวเลขในช่วงจากการวิเคราะห์ภาพทางการแพทย์ที่จะผลิตรากฟันเทียมทางการแพทย์และการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี
  • ศูนย์วิจัยด้านอัจฉริยะสารสนเทศและนวัตกรรมการบริการ (IISI) เก็บถาวร 2020-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เป็นการผสมผสานปัจจัยพื้นฐานสำหรับการแก้ปัญหาขั้นสูงในด้านวิศวกรรมวิทยาศาสตร์และประเด็นทางด้านวิทยาศาสตร์และด้านสังคม และจากนั้นจะให้การแก้ปัญหาในรูปแบบการให้บริการ หน่วยวิจัย IISI ก่อให้เกิดความก้าวหน้าของเขตข้อมูลสารสนเทศอัจฉริยะ เช่นปัญญาประดิษฐ์, การทำเหมืองข้อมูลและการประมวลผลอ่อนที่นำไปสู่การพัฒนาโซลูชั่นสำหรับปัญหาที่ปัจจัยมนุษย์มีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญ นวัตกรรมเหล่านี้สามารถใช้เป็นบริการเพื่อสังคมและอุตสาหกรรมต่างๆ
  • หน่วยวิจัยด้านการคำนวณทางด้านวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ (CES) ดำเนินการวิจัยด้านทฤษฎีการคำนวณ เพื่อแก้ไขปัญหาสหวิทยาการที่ซับซ้อนที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีการวิเคราะห์และการทดลอง
  • หน่วยวิจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะ (INFRA) นำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการวางแผน การออกแบบ การดำเนินงาน และการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานในรูปแบบอันชาญฉลาด ด้วยวิธีที่ประหยัด มีประสิทธิภาพ สะดวก สบายและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  • หน่วยวิจัยด้านระบบโลจิสติกส์และระบบห่วงโซ่อุปทาน (LogEn) การวิจัยขั้นสูงทางด้านระบบโลจิสติกส์และระบบห่วงโซ่อุปทานที่ให้ความสำคัญทางด้านความเหมาะสม การวางแผนการผลิต การตั้งเวลาจำลอง การจัดการรายการสิ่งของ การพยากรณ์ การจัดการที่มีคุณภาพ การจัดการและการดำเนินการตามแนวคิดแบบลีน
  • หน่วยวิจัยด้านวัสดุและเทคโนโลยีพลาสม่า (MaP Tech) มีเป้าหมายที่จะดำเนินการในขอบเขตที่กว้างในเรื่องการทำวิจัยทางด้านวัสดุที่เน้นในการพัฒนา การออกแบบ การวิเคราะห์การคำนวณ การผลิต การทดสอบและการใช้พลาสติกประยุกต์ ยางสังเคราะห์และวัสดุนาโน การใช้งานของพลาสม่า สำหรับการใช้งานในด้านต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้งานในด้านการเกษตรและการแพทย์เป็นหลัก
  • หน่วยวิจัยด้านพลังงานที่ยั่งยืนและคาร์บอนต่ำ (SELC) ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ความไม่มั่นคงด้านพลังงานและการเติบโตทางเศรษฐกิจ นั้นสามารถแก้ไขได้ด้วยการพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีคาร์บอนต่ำและการจัดการ มีความหลากหลายของเทคโนโลยีที่มีขั้นตอนต่างๆของการพัฒนาที่จะนำไปสู่การใช้พลังงานและเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตาม พวกเขาจะไม่ได้รับการพัฒนาในอัตราที่ต้องการเนื่องจากการรวมกันของเทคโนโลยี ทักษะ การเงิน การค้าและการกำกับดูแลต่างๆ

อ้างอิง

  1. Nishino, Fumio and Taweep Chaisomphob, 1997, A New Challenge for the Establishment of Sirindhorn International Institute of Technology at Thammasat University, Thailand เก็บถาวร 2005-11-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Inauguration of the Institute's New Name 'Sirindhorn International Institute of Technology', Commemorative publication, pp.18-24.
  2. "สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับผลการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ในระดับ "ดีมาก"". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-19. สืบค้นเมื่อ 2008-03-11.
  3. 10th Anniversary Sirindhorn International Institute of Technology เก็บถาวร 2006-07-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เอกสารเผยแพร่เนื่องในโอกาสเปิดตึกสิรินธราลัย
  4. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-19. สืบค้นเมื่อ 2008-03-11.
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-04. สืบค้นเมื่อ 2006-12-17.
  6. LAOTSE, LAOTSE Networking Universities เก็บถาวร 2016-07-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  7. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล. 2546. NECTEC Technology Roadmap in Software Technology 23 ธ.ค. 2546
  8. . IT Cluster: A Springboard of Thai Software Opportunities
  9. ประเวศ วะสี. 2544. ยุทธศาสตร์ทางปัญญา และการปฏิรูปการศึกษา เก็บถาวร 2004-08-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 26 ก.พ. 2544 - พูดถึงการบริหารจัดการร่วมที่จะทํให้ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร, อุทยานวิทยาศาสตร์, และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน เชื่อมโยงกันทำหน้าที่
  • Sandhya Babel answers a few questions about this month's fast breaking paper in field of Engineering. (ISI Essential Science Indicators) บทความวิชาการของอาจารย์สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เป็นบทความที่ได้รับการอ้างถึงมากที่สุดในสายวิศวกรรม ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547

ดูเพิ่ม

  • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อีกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่จัดการเรียนการสอนสาขาวิศวกรรมศาสตร์

แหล่งข้อมูลอื่น

  • สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
  • เครือข่ายนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร เก็บถาวร 2006-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (SIIT.NET)

ผู้เขียน: www.NiNa.Az

วันที่เผยแพร่: 17 พฤษภาคม, 2025 / 06:04

wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์

ewbyxSIIT sthabnethkhonolyinanachatisirinthr exsixixthi epnsthabnkarsuksadanwiswkrrmsastr ethkhonolyi aelakarcdkar sngkdmhawithyalythrrmsastr sungepidsxnindanwiswkrrmsastrhlksutrnanachatiepnaehngaerkkhxngpraethsithy pccubnmithnghmd 8 sakhawicha kareriynkarsxnthnghmdepnhlksutrnanachatiichphasaxngkvsepnsux phucbkarsuksarbpriyyacaksphamhawithyalythrrmsastrsthabnethkhonolyinanachatisirinthrSirindhorn International Institute of Technology Thammasat UniversitychuxyxSIITkhtiphcnYour best choice of international education sthapnaph s 2535 nbtngaetkxtngepnokhrngkarwiswkrrmsastr phakhphasaxngkvs inkhnawiswkrrmsastr mhawithyalythrrmsastrkhnbdithixyumhawithyalythrrmsastr sunyrngsit 99 hmu 18 thnnphhloythin xaephxkhlxnghlwng cnghwdpthumthani 12120ewbistwww siit tu ac th phaphtuksthabnethkhonolyinanachatisirinthrphayinmhawithyalythrrmsastrsunyrngsit exsixixthimkepnthiruckeriykkhanthwipwa wiswaxinetxr thrrmsastr enuxngcakedimepnokhrngkarhnunginkhnawiswkrrmsastrkxncatngepnsthabn aetkhnanikhaeriyknixacthaihsbsnid enuxngcakinpccubnkhnawiswkrrmsastrkhxngmhawithyalythrrmsastr kmiokhrngkarphakhphasaxngkvsxikokhrngkarhnung ruckkninchux wiswasxngsthabn chawthrrmsastrniymeriykexsixixthisn wa exsix exsixixthiepidsxnthnginradbxudmsuksaaelabnthitsuksaodyennkarsuksaaebbichkarwicyepntwna xacarypracathnghmdmiwuthixyangnxyradbpriyyaexk inkarpraeminkhunphaphphlnganwicyechingwichakardanwithyasastraelaethkhonolyikhxngsthabnxudmsuksainpraethsithyodysankngankxngthunsnbsnunkarwicy skw emuxpi ph s 2550 exsixixthiepnkhnadanwithyasastraelaethkhonolyiephiyngaehngediywkhxngpraethsthiidrbkarcdradbsungsud dimak cakthng 3 twchiwd sthabn epn 1 insthabnxudmsuksa 4 aehngkhxngpraeths thiidrbmxbthuncaksanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati swthch ephuxsnbsnunnkeriynthisnicsuksatxthangdanwithyasastrinradbxudmsuksa odythunnicamxbihaeknkeriynorngeriynwithyasastr orngeriynmhidlwithyanusrn aela orngeriynculaphrnrachwithyaly ephuxsuksatxaelathanganwicyrwmkbnkwicykhxngswthch sthabnepnsmachikkhxngekhruxkhay sungepnkhwamrwmmuxrahwangmhawithyalychnnainexechiyaelayuorp tamkrxbkhwamrwmmuxxaesm rabbkarbriharaelakarenginkhxngexsixixthiepnxisracakrabbswnklangkhxngmhawithyalythrrmsastrsungyngxyuinrabbrachkar ephuxprasiththiphaphaelakhwamkhlxngtw odymikhnakrrmkarxanwykarsthabnsungkhdeluxkodymhawithyalythrrmsastr sphaxutsahkrrmaehngpraethsithy aela ihkhapruksadannoybayaelakardaeninngan aelamikhnakrrmkarthipruksathangwichakarsungprakxbdwynkwichakarthimichuxesiynginsakhatang ihkhapruksadanwichakaraelakarwicy karbriharsthabnnaodyphuxanwykarprawtiexsixixthikxtnginchwngthiesrsthkickhxngpraethsithykalngetibotkhunxyangrwderw phrxm kbkarlngthuncaktangpraethscanwnmak khwamtxngkarwiswkrthisamarthsuxsarkbphuechiywchaytangpraethsidepnxyangdiephimkhunxyangrwderw s ekrikekiyrti phiphthnesrithrrm xthikarbdimth inkhnann kb nayxannth pnyarchun naypharn xisresna n xyuthya aelathanphuhyingnirml suriysty phunakhxngwngkarxutsahkrrminyukhnn cungidharuxaelaprasanngancnidkxtng okhrngkarwiswkrrmsastrphakhphasaxngkvs Engineering English Program EEP khuninkhnawiswkrrmsastr mhawithyalythrrmsastr emuxpi ph s 2535 enuxngcaktidkhddanokhrngsrangsungyngxyuinrabbrachkar aelangbpramanthicakd emuxokhrngkardngklawdaeninnganipidrayahnungcungidepliynsthana kxtngepnsthabnkungxisranxkrabbrachkar imphungngbpramanaephndin odyidrbkhwamrwmmuxcak sphaxutsahkrrmaehngpraethsithy s x th aela Japan Business Federation sungmkthukeriyktamchuxyxinphasayipun 経団連 sungxanwa ekhdnern ichchuxwa sthabnethkhonolyinanachati aehngmhawithyalythrrmsastr International Institute of Technology IIT emuxwnthi 16 knyayn ph s 2537 aelatxmaidrbphrarachthanchuxsthabncakphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr emuxwnthi 28 mithunayn ph s 2539 epn sthabnethkhonolyinanachatisirinthr tamphranamkhxng smedcphraknisthathiracheca krmsmedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumariwithyaekhtpccubnexsixixthikhyaykarsuksaepnsxngwithyaekht idaek withyaekhtthrrmsastrrngsit aelawithyaekhtbangkadi thngsxngwithyaekhtxyuinphunthiklumwisahkicethkhonolyikrungethphtxnbntamaephnyuththsastrkhxngswthch sunginphunthiprakxbipdwysthabndanwithyasastraelaethkhonolyithisakhycanwnmak echn xuthyanwithyasastrpraethsithy sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati swthch rwmthungsunywicyaehngchatiinsngkdxik 4 aehng idaek sunyphnthuwiswkrrmaelaethkhonolyichiwphaphaehngchati sunyethkhonolyiolhaaelawsduaehngchati sunyethkhonolyixielkthrxniksaelakhxmphiwetxraehngchati sunynaonethkhonolyiaehngchati sthabnwicywithyasastraelaethkhonolyiaehngpraethsithy ww sxftaewrpharkh xngkhkarphiphithphnthwithyasastraehngchati xphwch sthabnbnthitwithyasastraelaethkhonolyiithy aelasthabnethkhonolyiaehngexechiy rwmthungekhtxutsahkrrmihethkh aelasthabnxudmsuksaxun xikcanwnhnung odyexsixixthiidrwmmuxaelaaelkepliyn thngdankarsxn wicy aelathaythxdethkhonolyi kbhnwynganehlanixyangsmaesmx thrrmsastrrngsit tngxyuin mhawithyalythrrmsastr cnghwdpthumthani tidkb xuthyanwithyasastraehngpraethsithy swthch aela sthabnethkhonolyiaehngexechiy bangkadi tngxyuin cnghwdpthumthani odysakhawichadankarsuxsar ethkhonolyisarsneths khxmphiwetxr xielkthrxniks aelaemkhkhathrxniks caxyuthiwithyaekhtniepnhlk rwmthungsakhaethkhonolyikarcdkar karcdkarwiswkrrm aelakarcdkarkardaeninnganphakhwichapccubn mithnghmd 6 phakhwicha epidsxnsakhawichatang inwngelbkhuxsakhayxy dngni phakhwichawiswkrrmaelaethkhonolyiekhmichiwphaph wiswkrrmekhmi wiswkrrmchiwekhmi wiswkrrmsingaewdlxm phakhwichawiswkrrmaelaethkhonolyioytha wiswkrrmoytha wiswkrrmoytha phakhwichaethkhonolyisarsneths khxmphiwetxr aelakarsuxsar wiswkrrmiffa wiswkrrmkhxmphiwetxr wiswkrrmdicithl phakhwichaethkhonolyikarcdkar karwiekhraahthurkicaelaosxupthan phakhwichawiswkrrmekhruxngklaelarabbkarphlit wiswkrrmekhruxngkl wiswkrrmekhruxngkl wiswkrrmxutsahkar wiswkrrmxutsahkar wiswkrrmkarphlit phakhwichakarsuksarwmaelabnthitsuksa cdkareriynkarsxninwichaphunthandan wiswkrrm ethkhonolyi aelakarcdkar aelarbphidchxbwichaphasaxngkvsaelawichaphunthancanwnhnungkhxngmhawithyalythrrmsastr rhskhuntndwy TU phuxanwykarsthabntngaetxditthungpccubnph s 2568 pccubn rs dr ekriyngskdi phanuwthnwnichy ph s 2562 2568 ph s 2555 2562 ph s 2552 2555 ph s 2547 2552 s dr swsdi tntrartn ph s 2541 2547 s dr prida wibulyswsdi ph s 2540 2541 s dr swsdi tntrartn rksakar ph s 2537 2540 s dr prida wibulyswsdi ph s 2537 rksakar ph s 2535 2537 dr nphdl xinnabukhkhlsakhysthabnethkhonolyinanachatisirinthrs dr prida wibulyswsdi xditphuxanwykar rachbnthit sankwithyasastr rachbnthitysthan s dr swsdi tntrartn xditphuxanwykar phakhismachik sankwithyasastr rachbnthitysthan aelaphuxanwykarsankngankxngthunsnbsnunkarwicybukhkhlthimichuxesiyngdr sisyeka xditkrrmkarphuxanwykarihy bristh thaxakasyanithy AOT cakd mhachn phs dr sisyeka xditxacary prathanecahnathixnakhtsastraelasinthrphydicithl bristh fiwecxrethls aelb ody MQDC xditphuprakaskhawbnething chxng 3 chnnphrn rscnthn sisyeka misithyaelndyuniewirs 2548 chudaetngkaypracachatiyxdeyiym aelaepnnkbinthihnungkhxngsaykarbinithyaexrexechiyexks wristha cturphuch sisyeka nkrxngcakkarprakwdedxastar khnfakhwadaw pi 8 sphl xswmnkhng sisyeka nkaesdngchxng 7HD rs dr wiris xmrapal sisyeka phuwakarkarnikhmaehngpraethsithy aela phuwakarkarrthifaehngpraethsithy dr thisphl nkhrsri sisyeka prathankrrmkarbriharbristh bangkxkoslar phawewxr phixxng phusasmlngthunsinthrphypraephthrthspxrtthnginithy aela eyxrmni dr darngkhvththi eniymhmwd sisyeka rxngphuxanwykar sanknganphthnaethkhonolyixwkasaelaphumisarsneths hrux GISTDA phrys klnkrxng sisyeka xthibdikrmorngngan krathrwngxutsahkrrm surnam phanichkar sisyeka phukxtngaela CEO Tofusan kmpnath tnphithkssiththi sisyeka krrmkarphucdkar bristh orbxth sisetm cakd phuprakxbhunyntaelarabbxtonmti phchr pyyayngkh sisyeka phithikrraykardanesrsthkic xditphubriharbristh otoyta bangkxk cakdnganwicypccubn SIIT mi 3 sunywicyaela 6 klumwicy dngni sunywicyethkhonolyikarkxsrangaelabarungrksa CONTEC daeninkarwicyaelaphthnaokhrngkarthiekiywkbethkhonolyithicaepnsahrbkaraekpyhaaelakarsrangnwtkrrmthangdanethkhonolyiwsdukxsrangaelaokhrngsrangphunthan sunywicykarkhmnakhm Transportation Research Center TREC cdtngkhunemuxwnthi 18 thnwakhm kh s 2007 ephuxdaeninkarwicyrwmknrahwang SIIT aelaxngkhkrphakhrththiekiywkhxnginkhxbekhteruxngkarkhmnakhmaelaethkhonolyithisnbsnunthangdankarkhmnakhm hnwywiswkrrmchiwkaraephthy BioMed SIIT epnkarphsmphsankhxngphunthanthangdanwiswkrrm withyakarkhxmphiwetxr withyasastrkaraephthy aelakhnitsastrephuxaekpyhathiekiywkhxngthangdankaraephthyaelachiwwithya mikhwamechiywchayekiywkhxngkbchiwsarsnethsaelawiswkrrmchiwkaraephthy karephimprasiththiphaphaelakarwiekhraahechingtwelkhinchwngcakkarwiekhraahphaphthangkaraephthythicaphlitrakfnethiymthangkaraephthyaelakarekhiynopraekrmsiexnsi sunywicydanxcchriyasarsnethsaelanwtkrrmkarbrikar IISI ekbthawr 2020 06 04 thi ewyaebkaemchchin epnkarphsmphsanpccyphunthansahrbkaraekpyhakhnsungindanwiswkrrmwithyasastraelapraednthangdanwithyasastraeladansngkhm aelacaknncaihkaraekpyhainrupaebbkarihbrikar hnwywicy IISI kxihekidkhwamkawhnakhxngekhtkhxmulsarsnethsxcchriya echnpyyapradisth karthaehmuxngkhxmulaelakarpramwlphlxxnthinaipsukarphthnaosluchnsahrbpyhathipccymnusymiswnrwmxyangminysakhy nwtkrrmehlanisamarthichepnbrikarephuxsngkhmaelaxutsahkrrmtang hnwywicydankarkhanwnthangdanwiswkrrmaelawithyasastr CES daeninkarwicydanthvsdikarkhanwn ephuxaekikhpyhashwithyakarthisbsxnthiimsamarthekhathungiddwywithikarwiekhraahaelakarthdlxng hnwywicydanokhrngsrangphunthanxcchriya INFRA naethkhonolyitang maichinkarwangaephn karxxkaebb kardaeninngan aelakarbriharcdkarokhrngsrangphunthaninrupaebbxnchaychlad dwywithithiprahyd miprasiththiphaph sadwk sbayaelaepnmitrkbsingaewdlxm hnwywicydanrabbolcistiksaelarabbhwngosxupthan LogEn karwicykhnsungthangdanrabbolcistiksaelarabbhwngosxupthanthiihkhwamsakhythangdankhwamehmaasm karwangaephnkarphlit kartngewlacalxng karcdkarraykarsingkhxng karphyakrn karcdkarthimikhunphaph karcdkaraelakardaeninkartamaenwkhidaebblin hnwywicydanwsduaelaethkhonolyiphlasma MaP Tech miepahmaythicadaeninkarinkhxbekhtthikwangineruxngkarthawicythangdanwsduthienninkarphthna karxxkaebb karwiekhraahkarkhanwn karphlit karthdsxbaelakarichphlastikprayukt yangsngekhraahaelawsdunaon karichngankhxngphlasma sahrbkarichnganindantangodyechphaaxyangyingkarichnganindankarekstraelakaraephthyepnhlk hnwywicydanphlngnganthiyngyunaelakharbxnta SELC khwamthathaykhxngkarepliynaeplngsphaphphumixakaskhxngolk khwamimmnkhngdanphlngnganaelakaretibotthangesrsthkic nnsamarthaekikhiddwykarphthnaxyangrwderwkhxngethkhonolyikharbxntaaelakarcdkar mikhwamhlakhlaykhxngethkhonolyithimikhntxntangkhxngkarphthnathicanaipsukarichphlngnganaelaepahmaydansingaewdlxm aetxyangirktam phwkekhacaimidrbkarphthnainxtrathitxngkarenuxngcakkarrwmknkhxngethkhonolyi thksa karengin karkhaaelakarkakbduaeltangxangxingNishino Fumio and Taweep Chaisomphob 1997 A New Challenge for the Establishment of Sirindhorn International Institute of Technology at Thammasat University Thailand ekbthawr 2005 11 03 thi ewyaebkaemchchin Inauguration of the Institute s New Name Sirindhorn International Institute of Technology Commemorative publication pp 18 24 sthabnethkhonolyinanachatisirinthr mhawithyalythrrmsastr idrbphlkarpraeminkhunphaphphlnganwicyechingwichakardanwithyasastraelaethkhonolyi khxngsthabnxudmsuksainpraethsithy inradb dimak khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 03 19 subkhnemux 2008 03 11 10th Anniversary Sirindhorn International Institute of Technology ekbthawr 2006 07 19 thi ewyaebkaemchchin exksarephyaephrenuxnginoxkasepidtuksirinthraly saenathiekbthawr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 03 19 subkhnemux 2008 03 11 saenathiekbthawr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 10 04 subkhnemux 2006 12 17 LAOTSE LAOTSE Networking Universities ekbthawr 2016 07 11 thi ewyaebkaemchchin thwiskdi kxxnntkul 2546 NECTEC Technology Roadmap in Software Technology 23 th kh 2546 IT Cluster A Springboard of Thai Software Opportunities praews wasi 2544 yuththsastrthangpyya aelakarptirupkarsuksa ekbthawr 2004 08 31 thi ewyaebkaemchchin 26 k ph 2544 phudthungkarbriharcdkarrwmthicathih sthabnethkhonolyinanachatisirinthr xuthyanwithyasastr aela sthabnethkhonolyiaehngexechiy sungtngxyuinbriewnediywkn echuxmoyngknthahnathi Sandhya Babel answers a few questions about this month s fast breaking paper in field of Engineering ISI Essential Science Indicators bthkhwamwichakarkhxngxacarysakhaethkhonolyisingaewdlxm epnbthkhwamthiidrbkarxangthungmakthisudinsaywiswkrrm ineduxnthnwakhm ph s 2547duephimkhnawiswkrrmsastr mhawithyalythrrmsastr xikhnwynganinmhawithyalythrrmsastr thicdkareriynkarsxnsakhawiswkrrmsastraehlngkhxmulxunsthabnethkhonolyinanachatisirinthr ekhruxkhaynksuksa sthabnethkhonolyinanachatisirinthr ekbthawr 2006 10 04 thi ewyaebkaemchchin SIIT NET

บทความล่าสุด
  • เมษายน 26, 2025

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534

  • เมษายน 25, 2025

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521

  • เมษายน 29, 2025

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511

  • เมษายน 26, 2025

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519

  • เมษายน 27, 2025

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517

www.NiNa.Az - สตูดิโอ

  • วิกิพีเดีย
ติดต่อเรา
ภาษา
ติดต่อเรา
DMCA Sitemap
© 2019 nina.az - สงวนลิขสิทธิ์.
ลิขสิทธิ์: Dadash Mammadov
เว็บไซต์ฟรีที่ให้บริการแบ่งปันข้อมูลและไฟล์จากทั่วทุกมุมโลก
สูงสุด